
เจาะลึกมุมมอง ความคิด และความหลงใหลในชีวิตของสถาปนิกแถวหน้าของเมืองไทย ดวงฤทธิ์ บุนนาค
ถ้าพูดถึงสถาปนิกชาวไทยที่มีผลงานโดดเด่นเป็นที่รู้จักแห่งยุคสมัยทั้งในบ้านเราและในระดับสากล ชื่อของ ดวงฤทธิ์ บุนนาค ผู้ก่อตั้งและเจ้าของบริษัทสถาปนิก DBALP (DUANGRIT BUNNAG ARCHITECT LIMITED) ต้องอยู่ในอันดับต้นๆ เป็นแน่แท้ ด้วยสไตล์การออกแบบงานสถาปัตยกรรมที่เรียบง่ายแต่ลึกซึ้งคมคาย และแฝงความสัมพันธ์อย่างกลมกลืมกับบริบทของที่ตั้งและสภาพแวดล้อมรอบข้าง กับผลงานอันโดดเด่นอย่าง โครงการ H1 ทองหล่อ, รีสอร์ท Costa Lanta กระบี่ (ซึ่งได้รางวัล the Best 50 New Hotels in the World จากนิตยสาร Conde Nast Traveler) ฯลฯ
อ่านต่อ
เจ้าพ่อป๊อปอาร์ต แอนดี้ วอร์ฮอล
"In the future , everyone will be world-famous for 15 minutes." “ในอนาคต ทุกคนจะมีโอกาสมีชื่อเสียงในระดับโลกกันคนละ 15 นาที” ซึ่งวลีข้างต้น เป็นคำทำนายเชิงเสียดสีที่ศิลปินคนหนึ่งกล่าวเอาไว้ในปี 1968 และศิลปินที่สร้างสรรค์ผลงานศิลปะในแนวที่บ่งบอกถึงสภาวะดังกล่าวของสังคมได้เป็นอย่างดี แอนดี้ วอร์ฮอล (Andy Warhol)
อ่านต่อ
ภาพพิมพ์ ศิลปะแห่งความเงียบงัน ในหนังโรแมนติกแฟนตาซีแดนอาทิตย์อุทัย
องค์ประกอบที่สำคัญในหนังเรื่องหนึ่งๆ นอกจากจะประกอบด้วย สามสิ่งสำคัญอย่าง บท นักแสดง และฉากแล้ว รายละเอียดปลีกย่อยเล็กๆ น้อย ก็เป็นอีกสิ่งหนึ่ง ที่แม้จะไม่ถึงกับขาดไม่ได้ แต่ก็เป็นอีกองค์ประกอบที่ทำให้หนังเรื่องนั้นๆ มีความสมบูรณ์และเสน่ห์เพิ่มขึ้นได้ไม่ยาก
อ่านต่อ
หนังตลกร้ายเปี่ยมสไตล์สุดพิลึกพิลั่น A Pigeon Sat On A Branch Reflecting On Existence และงานศิลปะที่อยู่เบื้องหลังแรงบันดาลใจของมัน
ถ้าใครเป็นแฟนผลงานผู้กำกับ รอย แอนเดอร์สัน (Roy Andersson) ผู้กำกับรุ่นลายครามวัย 72 ชาวสวีดิชผู้นี้ ก็คงจะคุ้นเคยกันดีกับสไตล์อันจัดจ้านไม่เหมือนใครและไม่มีใครเหมือน เรียกได้ว่าถ้าใครได้ดูหนังของเขาแล้ว ถ้าไม่รักก็คงเกลียดไปเลย หลังจากรอคอยกันมาอย่างยาวนานถึงแปดปี ในปี 2014 เขากลับมาอย่างสมศักดิ์ศรีกับผลงานที่ถูกทำขึ้นมาเพื่อเป็นภาคสุดท้ายของไตรภาค “Being A Human Being”
อ่านต่อ
จิตรกรรมแห่งความเวิ้งว้างที่เป็นแรงบันดาลใจสำคัญของโลกภาพยนตร์
แอนดรูว์ ไวเอท (Andrew Wyeth) จิตรกรภาพเหมือนจริงชาวอเมริกันผู้มีผลงานอันโดดเด่นและทรงอิทธิพลในแนวทางแบบ Regionalism และเป็นหนึ่งในศิลปินอเมริกันที่โด่งดังและเป็นที่รู้จักที่สุดในช่วงกลางศตวรรษที่ 20
อ่านต่อ
ประภาคารแห่งแรงบันดาลใจของเหล่าคนทำหนัง เอ็ดเวิร์ด ฮอปเปอร์
มีศิลปินผู้หนึ่ง ที่ผลงานจิตรกรรมของเขาหลายต่อหลายชิ้นเป็นแรงบันดาลใจและจุดกำเนิดไอเดียราวกับเป็นประภาคารที่สาดส่องแสงสว่างทางปัญญาให้กับคนทำหนังและคนทำงานสร้างสรรค์คนแล้วคนเล่าจวบจนถึงปัจจุบัน ศิลปินผู้นั้นมีชื่อว่า เอ็ดเวิร์ด ฮอปเปอร์ (Edward Hopper)
อ่านต่อ
ไฮเปอร์เรียลลิซึ่ม (Hyperrealism) ขั้นสุดยอดของการลอกเลียนแบบ
ไฮเปอร์เรียลลิซึ่ม คือประเภทของงานจิตรกรรม (หรือประติมากรรม) ที่จำลองความเหมือนของภาพถ่ายความละเอียดสูงด้วยการใช้มือวาด (หรือสร้างสรรค์) ขึ้นมา ศิลปะกระแสนี้เริ่มแพร่หลายในยุโรปและอเมริกาตั้งแต่ต้นปี ค.ศ. 2000
อ่านต่อ
อนิช กาปูร์ (Anish Kapoor) ศิลปินอังกฤษเชื้อสายอินเดีย ได้รับสิทธิในการใช้สีดำ Vantablack ที่ว่ากันว่าเป็นสีที่ดำที่สุดเท่าที่โลกเคยมีมาในการทำงานศิลปะแต่เพียงผู้เดียว
อนิช กาปูร์ (Anish Kapoor) ศิลปินอังกฤษเชื้อสายอินเดีย ได้รับสิทธิในการใช้สีดำ Vantablack ที่ว่ากันว่าเป็นสีที่ดำที่สุดเท่าที่โลกเคยมีมาในการทำงานศิลปะแต่เพียงผู้เดียว
อ่านต่อ